fbpx

ขนาดหน้าจอ iPhone / iPad [อัพเดทปี 2023 มี iPhone 15, iPhone 15 Plus, iPhone 15 Pro, iPhone 15 Pro Max]

นักพัฒนาแอพพลิเคชัน นักพัฒนาเกม บน iOS ของค่าย Apple ควรต้องรู้ขนาดของหน้าจอ iPhone, iPod, iPad ในแต่ละรุ่น ว่ามีขนาดเท่าไร เพื่อที่จะออกแบบภาพให้ตรงกับรุ่นนั้นๆ และนี่คือขนาดหน้าจอของ iPhone / iPod / iPad แต่ละรุ่น

พัฒนาเกมลง iOS ด้วย Swift และ SpriteKit ตอนที่ 5 การใช้ SKAction.move

สำหรับบทความตอนนี้จะพูดถึงการใช้ SKAction.move เพื่อที่จะให้ภาพเคลื่อนที่ไปยังจุดต่าง ๆ ที่เรากำหนด ใน SpriteKit จะมีคลาส SKAction ซึ่งเก็บรวบรวมฟังก์ชันที่ทำหน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือคุณสมบัติของโหนดที่อยู่ในซีน ซึ่งฟังก์ชัน move เป็นหนึ่งในฟังก์ชันที่อยู่ใน SKAction โดยทำหน้าที่ในการทำให้โหนดหรือวัตถุนั้น ๆ เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งใหม่ เรามาเริ่มต้นเรียนรู้การใช้ SKAction.move โดยเริ่มต้นสร้างโปรเจคชื่อ

พัฒนาเกมลง iOS ด้วย Swift และ SpriteKit ตอนที่ 4 โหลดภาพ Sprite

ในบทความตอนนี้จะพูดถึงการโหลดภาพหรือ Sprite ให้แสดงผลบนหน้าจอ โดยก่อนอื่นจะต้องทำความเข้าในเรื่องพิกัด หรือจุด ที่จะแสดงผลบนหน้าจอไอโฟนหรือไอแพด เนื่องจากว่าขนาดหน้าจอของแต่ละเครื่องไม่เท่ากัน ความละเอียดของหน้าจอก็ไม่เท่ากัน ดังนั้น ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับขนาดหน้าจอของไอโฟนและไอแพดแต่ละรุ่นกันก่อน หลัก ๆ จะมีคำสองคำที่เกี่ยวข้องคือ Resolution และ Logical Resolution Resolution ก็คือจำนวน Pixel

พัฒนาเกมลง iOS ด้วย Swift และ SpriteKit ตอนที่ 3 Hello, world!

หลังจากอารัมภบทมาแล้วสองตอน มาถึงตอนที่ 3 เรามาเริ่มลงมือกันเลยดีกว่า เริ่มต้นสำหรับการเขียนโปรแกรมทั่วไป เราก็ต้องมี “Hello, world!” กันก่อน เป็นพื้นฐาน ในการเขียนเกมเราก็มี “Hello, world!” นะ ซึ่งในที่นี้ก็จะให้มีข้อความ “Hello, world!” มาแสดงในหน้าจอมือถือของเรานั่นเอง เริ่มต้นเราก็เปิดโปรแกรม Xcode

พัฒนาเกมลง iOS ด้วย Swift และ SpriteKit ตอนที่ 2 SpriteKit vs Cocos2D vs Unity

หลายคนอาจมีคำถามว่า แล้ว SpriteKit กับ Swift มันมีอะไรน่าสนใจที่เราจะเลือกมาทำเกม เพราะจริงๆ ก็มีเครื่องมือ หรือ เฟรมเวิร์ค อื่นๆ ที่ใช้เขียนเกม 2 มิติ ตั้งหลายตัว ดังนั้นก่อนจะลงมือเริ่มทำเกมลง iOS เราลองมาดูเปรียบเทียบข้อดี ข้อเสียหรือจุดด้อย ของเครื่องมือที่ใช้สำหรับพัฒนาเกม

พัฒนาเกมลง  iOS ด้วย Swift และ SpriteKit ตอนที่ 1 การพัฒนาเกมบนมือถือ

ด้วยปัจจุบันนี้โทรศัพท์มือถือนับเป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับบุคคลทั่วไป คนที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป แทบจะมีโทรศัพท์มือถือกันทุกคน อีกทั้งโทรศัพท์มือถือที่ใช้กันอยู่ ก็ไม่ได้เป็นแค่โทรศัพท์ที่โทรเข้า-ออกได้อย่างเดียว มันยังสามารถทำอะไรได้อีกหลายอย่าง เช่น เล่นเน็ต แชทคุยกัน ถ่ายรูป ดูวิดีโอ ท่องโลกโซเชียล และเล่นเกม เกม เป็นหนึ่งในกลุ่มแอพพลิเคชั่นที่ขายดีจนกระทั่งใน iOS 11 แยกเกมออกมาจากแอพพลิเคชันทั่วไป